Skip to content

Instantly share code, notes, and snippets.

@rapee
Last active December 11, 2020 08:24
Show Gist options
  • Save rapee/5565048306a9b494174d025d3945ea61 to your computer and use it in GitHub Desktop.
Save rapee/5565048306a9b494174d025d3945ea61 to your computer and use it in GitHub Desktop.
Sample data for ELECT's constitution website
{
"id": 10,
"name": "อำนาจนิติบัญญัติ",
"color": "#cc9900",
"content": "อำนาจนิติบัญญัติหรืออำนาจของรัฐสภา อันประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา �มีหน้าที่หลักในการตรา แก้ไข ตรวจสอบ หรือยกเลิกกฎหมาย รวมถึงการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ทั้งยังมีอำนาจในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินของฝ่ายบริหาร และพิจารณาให้ความเห็นชอบเรื่องสำคัญ ๆ ที่มีผลกระทบต่อประชาชน",
"subcategories": [
{
"id": 1028,
"name": "สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร",
"content": "สภาผู้แทนราษฎร นับเป็นระบบผู้แทนที่ประชาชนจะมอบหมายให้ผู้แทนที่ประชาชนเป็นผู้เลือกตั้งเข้าไปใช้อำนาจอธิปไตยแทนในด้านต่าง ๆ โดยใช้รัฐสภาเป็นองค์กรผู้ใช้อำนาจอธิปไตยด้านนิติบัญญัติ เมื่อสภาผู้แทนราษฎรเป็นส่วนหนึ่งของรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎรจึงเป็นสถาบันการเมืองที่เป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยด้านนิติบัญญัติ ซึ่งถือว่าเป็นสถาบันการเมืองที่สำคัญยิ่งในการออกกฎหมายมาให้ประชาชนต้องปฏิบัติตาม",
"topics": [
{
"id": 1,
"name":"ที่มาของวุฒิสภา",
"image":"https://elect.in.th/con/images/topic1.jpg",
"thumbnail_image": "https://elect.in.th/con/images/topic1_thumbnail.png"
},
{
"id": 2,
"name":"ที่มาของวุฒิสภา",
"image":"https://elect.in.th/con/images/topic1.jpg",
"thumbnail_image": "https://elect.in.th/con/images/topic1_thumbnail.png"
}
]
},
{
"id": 1029,
"name": "สมาชิกวุฒิสภา",
"content": "วุฒิสภา หรือ พฤฒสภาเป็นเสมือนพี่เลี้ยงของสภาผู้แทนราษฎร มีอำนาจหน้าที่ในการตรวจสอบกลั่นกรองกฎหมาย และมีอำนาจหน้าที่ในการเป็นคณะกรรมาธิการสามัญ รวมทั้งมีอำนาจเลือกบุคคลที่เป็นสมาชิกวุฒิสภาหรือมิได้เป็นสมาชิกวุฒิสภาร่วมเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อกระทำกิจการหรือพิจารณาสอบสวนกิจกรรมอันอยู่ในวงงานของรัฐสภา แต่หากมองในภาพรวมวุฒิสภาเป็นอีกสภาหนึ่งในระบบสภาอาจจะมีอำนาจมากกว่าหรือน้อยกว่าสภาล่าง หรือมีบทบาทมากน้อยแค่ไหนเพียงใดนั้นย่อมสุดแล้วแต่รัฐธรรมนูญ",
"topics": [
{
"id": 1,
"name":"ที่มาของวุฒิสภา",
"image":"https://elect.in.th/con/images/topic1.jpg",
"thumbnail_image": "https://elect.in.th/con/images/topic1_thumbnail.png"
},
{
"id": 2,
"name":"ที่มาของวุฒิสภา",
"image":"https://elect.in.th/con/images/topic1.jpg",
"thumbnail_image": "https://elect.in.th/con/images/topic1_thumbnail.png"
}
]
}
]
}
[
{
"id": "5fd1ee3edac0a6e1de77dd4b",
"name": "ที่มาของวุฒิสภา",
"summary": "# ความเป็นมา\n\nฒิสภาไทยมีที่มาหลากหลายขึ้นอยู่กับรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ ส่วนมากแล้ววุฒิสภานั้นมาจากการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ และคณะกรรมการสรรหา น้อยครั้งที่วุฒิสมาชิกจะมาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีเพียงรัฐธรรมนูญพ.ศ. 2489 และรัฐธรรมนูญพ.ศ. 2540 เท่านั้นที่สมาชิกวุฒิสภาทั้งหมดมาจากการเลือกตั้ง\n\n| | เลือกโดย | จำนวน ส.ว.<br/>![](https://elect.in.th/con/images/topic1_summary_table1_legend.png) |\n|----|----|----|\n| ฉบับ ชั่วคราว 2475 | - | - |\n| ฉบับ 2475 | - | - |\n| ฉบับ 2489 | ประชาชน | 80 คน<br/>![](https://elect.in.th/con/images/topic1_summary_table1_mp80.png) |\n| ฉบับชั่วคราว 2490 | พระมหากษัตริย์ | เท่าสภาผู้แทนราษฎร |\n| ฉบับ 2492 | พระมหากษัตริย์ | 100 คน<br/>![](https://elect.in.th/con/images/topic1_summary_table1_senate270.png) |\n| ฉบับ 2475 แก้ไข 2495 | - | - |\n| ฉบับ 2502 | - | - |\n\n# 10 ส.ว. \"ไม่รับหลักการ\" ตั้ง สสร. แต่ได้เป็น กมธ. พิจารณารายละเอียด\n \nการแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตั้ง สสร. มีโมเดลหลักอยู่สามโมเดล คือ “โมเดลพรรคร่วมรัฐบาล” ให้ สรร. มาจาการเลือกตั้ง ผสมการแต่งตั้ง หรือ “โมเดลพรรคเพื่อไทย” ที่ให้ สสร.มาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ซึ่งทั้งสองโมเดลเป็นสองร่างรัฐธรรมนูญที่สภารับหลักการ และ “โมเดลภาคประชาชน” ที่ให้ สสร. มาจากการเลือกตั้งโดยใช้ประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง แม้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับภาคประชาชนจะถูกปัดทิ้งไป แต่ กมธ.จะยกขึ้นมาประกอบในการพิจารณาด้วย\n \nแม้ยังไม่แน่ชัดว่าโมเดล สสร. สุดท้ายที่ออกมาหลังการพิจารณาโดย กมธ. ชุดนี้จะมีหน้าตาเป็นเช่นไร แต่ชัดเจนว่า วันที่ 18 พฤศจิกายน 2563 สมาชิกรัฐสภาลงมติเห็นชอบในหลักการให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญเปิดทางให้มี สสร. เพื่อเข้ามาร่างรัฐธรรมนูญใหม่ \n \nอย่างไรก็ตามในบรรดา กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ จำนวนทั้ง 45 คน พบว่า มี 10 คน ที่ \\\"ไม่\\\" ลงมติรับหลักการร่างรัฐธรรมนูญที่เปิดทางให้มีการตั้ง สสร. ซึ่งทั้งหมดเป็น ส.ว. และในจำนวนนั้นมี 2 คน ที่ \\\"ไม่\\\" ลงมติไม่เห็นชอบกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญร่างใดเลย คือ มหรรณพ เดชวิทักษ์ และ เสรี สุวรรณภานนท์\",\n",
"category_id": "1",
"category_name": "คำปรารภ",
"category_color": "#d9d9d9",
"subcategory_id": "1",
"subcategory_name": "สมาชิกวุฒิสภา",
"image": "http://localhost:1337/uploads/topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"image_thumbnail": "http://localhost:1337/uploads/thumbnail_topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"image_large": "http://localhost:1337/uploads/large_topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"image_medium": "http://localhost:1337/uploads/medium_topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"image_small": "http://localhost:1337/uploads/small_topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"thumbnail_image": "http://localhost:1337/uploads/topic1_thumbnail_1_4e6cd51b04.png",
"thumbnail_image_thumbnail": "http://localhost:1337/uploads/thumbnail_topic1_thumbnail_1_4e6cd51b04.png",
"constitutions": [
{
"id": "con2560",
"name": "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560",
"prelude": "xxx\n\nyyyy\n\n# Con 2460",
"sections": [
{
"id": 107,
"content": "วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวนสองร้อยคน ซึ่งมาจาก\\n การเลือกกันเองของบุคคลซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ อาชีพ ลักษณะ หรือประโยชน์ร่วมกัน หรือ\\n ..",
"chapter_id": 7,
"chapter_name": "รัฐสภา",
"part_id": 3,
"part_name": "วุฒิสภา"
},
{
"id": 269,
"content": "ในวาระเริ่มแรก ให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวน\\n สองร้อยห้าสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามที่\\n คณะรักษาความสงบแห่งชาติถวายคำแนะนำ โดยในการ\\n ....",
"chapter_id": 17,
"chapter_name": "บทเฉพาะกาล",
"part_id": null,
"part_name": null
}
]
},
{
"id": "con2492",
"name": "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492",
"prelude": "xxx\n\nyyyy\n\n# Con 2492",
"sections": [
{
"id": 82,
"content": "วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกมีจำนวนหนึ่งร้อยคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ ทรงเลือกและแต่งตั้งจากผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทน และมีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบปี บริบูรณ์ซึ่งทรงพระราชดำริเห็นว่าเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ โดยมีความรู้ความชำนาญในวิชาการหรือกิจการต่าง ๆ อันจะยังประโยชน์ให้เกิดแก่การปกครองแผ่นดิน ให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา\\n ..",
"chapter_id": 6,
"chapter_name": "อำนาจนิติบัญญัติ",
"part_id": 2,
"part_name": "วุฒิสภา"
}
]
}
],
"opinions": [
{
"speaker_name": "เสรี วงษ์มณฑา",
"speaker_position": "ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ",
"content": "เลือกที่จะเล่าบางส่วนของประวัติศาสตร์เข้าข้างตัวเอง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการเมืองที่ต้องการ ปลุกเร้าเยาวชนของชาติให้คล้อยตามเรื่องการเปลี่ยนระบอบการปกครอง เลวค่ะ",
"speaker_image": "http://localhost:1337/uploads/degoqrwz0158_1bd010a7ff.jpg",
"date": "2020-11-18",
"id": "5fd1f402bcae4f25f85f1943",
"speaker_image_thumbnail": "http://localhost:1337/uploads/thumbnail_degoqrwz0158_1bd010a7ff.jpg"
},
{
"speaker_name": "อ. ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล",
"speaker_position": "อาจารย์ประจำศูนย์กฎหมายระหว่างประเทศ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์",
"content": "ทุกวันนี้มีอยู่แล้ว และใช้ข้อมูลไปอย่างมหาศาลแล้วด้วย ซึ่งบางครั้งไม่ได้ขอความยินยอมจากผู้ใช้ด้วย หรือไม่ถ้าขอก็อาจจะเป็นการเขียนเบลอๆ กระทั่งอ่านเงื่อนไขขอความยินยอมของผู้ให้บริการจนจบแล้ว ยังรู้สึกไม่อยากใช้เลย แต่ทำยังไงได้ มันต้องใช้ เพราะไม่มีบริการอื่นให้เลือกใช้ ในแง่นั้นผู้บริโภคไม่ได้มีทางเลือกเท่าไหร่\\n\\nแต่ทีนี้หลักการของกฎหมายคุ้มครองส่วนบุคคลทั้งของไทยและต่างประเทศบอกว่า ถ้าคุณจะใช้บริการ แล้วบริษัทขอใช้ข้อมูลคุณ ต้องมีเหตุผลและความจำเป็นจริงๆ",
"speaker_image": "http://localhost:1337/uploads/_c2e5905967.jpg",
"date": "2020-12-01",
"id": "5fd1f402bcae4f25f85f1944",
"speaker_image_thumbnail": "http://localhost:1337/uploads/thumbnail__c2e5905967.jpg"
}
]
},
{
"id": "5fd30e11a710e7301331c6d4",
"name": "อำนาจหน้าที่สมาชิกวุฒิสภา",
"summary": "วุฒิสภามีอำนาจหน้าที่ด้านนิติบัญญัติ เป็นการกลั่นกรองและยับยั้งกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎร ทั้งในส่วนของร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชกำหนด ทั้งยังสามารถตั้งกระทู้ถาม เปิดอภิปรายในเรื่องสำคัญ และอำนาจหน้าที่อื่นๆ ขึ้นอยู่กับรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ ",
"category_id": "1",
"category_name": "คำปรารภ",
"category_color": "#d9d9d9",
"subcategory_id": "1",
"subcategory_name": "สมาชิกวุฒิสภา",
"image": "http://localhost:1337/uploads/topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"image_thumbnail": "http://localhost:1337/uploads/thumbnail_topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"image_large": "http://localhost:1337/uploads/large_topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"image_medium": "http://localhost:1337/uploads/medium_topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"image_small": "http://localhost:1337/uploads/small_topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"thumbnail_image": "http://localhost:1337/uploads/topic1_thumbnail_1_4e6cd51b04.png",
"thumbnail_image_thumbnail": "http://localhost:1337/uploads/thumbnail_topic1_thumbnail_1_4e6cd51b04.png",
"opinions": [
{
"speaker_name": "ดร. ภูริพันธ์ รุจิขจร",
"date": "2020-12-10",
"speaker_position": "อาจารย์ประจำคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ",
"content": "ศาสตร์ที่ใช้ก็คิดว่าต้องผสมๆ กัน ไม่มีชื่อเรียกเฉพาะเจาะจง อย่างน้อยต้องเขียนโค้ดได้ ต้องเป็นด้านโปรแกรมมิ่ง เรื่องออกแบบก็ต้องพอรู้บ้าง พวกหลักการออกแบบพื้นฐาน ออกแบบอย่างไรให้อ่านง่าย แล้วถ้าคุยกับลูกค้าก็ต้องมีทักษะ soft skill ต่างๆ จะคุยกับเขาอย่างไร",
"speaker_image": "http://localhost:1337/uploads/visualization_3_1024x751_423e389058.jpg",
"id": "5fd313d4e1c8a467e5b6c7f3",
"speaker_image_thumbnail": "http://localhost:1337/uploads/thumbnail_visualization_3_1024x751_423e389058.jpg"
}
],
"constitutions": [
{
"id": "con2489",
"name": "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489",
"prelude": "xxx\n\nyyyy\n\n# Con 2489",
"sections": [
{
"id": 54,
"content": "ร่างพระราชบัญญัติที่สภาผู้แทนได้ลงมติให้ใช้ได้และได้เสนอไปยังพฤฒสภานั้น พฤฒสภาจะต้องพิจารณาและลงมติภายในกำหนดสามสิบวัน แต่ถ้าร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน พฤฒสภาจะต้องพิจารณาและลงมติภายในกำหนดสิบห้าวัน\\n\\nกำหนดวันดั่งกล่าวในวรรคก่อน ให้หมายถึงวันในสมัยประชุม และให้เริ่มนับแต่วันที่ร่างพระราชบัญญัตินั้นได้มาถึงพฤฒสภา\\n\\nถ้าพฤฒสภาไม่ได้พิจารณาลงมติในร่างพระราชบัญญัติที่สภาผู้แทนส่งมาภายในกำหนดเวลาที่กล่าวในวรรคแรก ก็ให้ถือว่าพฤฒสภาได้ให้ความเห็นชอบในร่างพระราชบัญญัตินั้น",
"chapter_id": 3,
"chapter_name": "อำนาจนิติบัญญัติ",
"part_id": 5,
"part_name": "บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง"
},
{
"id": 56,
"content": "พฤฒสภาและสภาผู้แทน มีอำนาจควบคุมราชการแผ่นดิน โดยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้",
"chapter_id": 3,
"chapter_name": "อำนาจนิติบัญญัติ",
"part_id": 5,
"part_name": "บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง"
},
{
"id": 57,
"content": "ในที่ประชุมของพฤฒสภาหรือสภาผู้แทน สมาชิกทุกคนมีสิทธิตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรีในข้อความใด ๆ อันเกี่ยวกับการงานในหน้าที่ได้ แต่รัฐมนตรีย่อมมีสิทธิที่จะไม่ตอบ เมื่อเห็นว่าข้อความนั้น ๆ ยังไม่ควรเปิดเผยเพราะเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือประโยชน์สำคัญของแผ่นดิน",
"chapter_id": 3,
"chapter_name": "อำนาจนิติบัญญัติ",
"part_id": 5,
"part_name": "บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง"
},
{
"id": 59,
"content": "พฤฒสภาและสภาผู้แทนมีอำนาจเลือกสมาชิกในสภาตั้งเป็นคณะกรรมาธิการสามัญ และมีอำนาจเลือกบุคคลที่เป็นสมาชิกหรือมิได้เป็นสมาชิกในสภาก็ตามเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ เพื่อกระทำกิจการหรือพิจารณาสอบสวนข้อความใด ๆ อันอยู่ในวงงานของสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการที่กล่าวนี้ ย่อมมีอำนาจเรียกบุคคลใด ๆ มาชี้แจงแสดงความเห็นในกิจการที่กระทำหรือพิจารณาอยู่นั้นได้\\n\\nเอกสิทธิที่บัญญัติไว้ในมาตรา 42 นั้น ให้คุ้มครองถึงบุคคลผู้กระทำหน้าที่ตามมาตรานี้ด้วย",
"chapter_id": 3,
"chapter_name": "อำนาจนิติบัญญัติ",
"part_id": 5,
"part_name": "บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง"
}
]
},
{
"id": "con2492",
"name": "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492",
"prelude": "xxx\n\nyyyy\n\n# Con 2492",
"sections": [
{
"id": 75,
"content": "ร่างพระราชบัญญัติจะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา",
"chapter_id": 6,
"chapter_name": "อำนาจนิติบัญญัติ",
"part_id": 1,
"part_name": "บททั่วไป"
},
{
"id": 77,
"content": "ร่างพระราชบัญญัติใดพระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยและพระราชทานคืนมายังรัฐสภา หรือมิได้พระราชทานคืนมาภายในเก้าสิบวัน รัฐสภาจะต้องปรึกษาร่างพระราชบัญญัตินั้นใหม่ ถ้ารัฐสภาลงมติยืนยันตามเดิมด้วยคะแนนเสียงไม่ต่ำกว่าสองในสามของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของทั้งสองสภาแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายอีกครั้งหนึ่ง เมื่อพระมหากษัตริย์มิได้ทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานลงมาภายในสามสิบวัน ก็ให้นำพระราชบัญญัตินั้นประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว",
"chapter_id": 6,
"chapter_name": "อำนาจนิติบัญญัติ",
"part_id": 1,
"part_name": "บททั่วไป"
}
]
}
]
}
]
{
"id": "5fd1ee3edac0a6e1de77dd4b",
"name": "ที่มาของวุฒิสภา",
"summary": "# ความเป็นมา\n\nฒิสภาไทยมีที่มาหลากหลายขึ้นอยู่กับรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ ส่วนมากแล้ววุฒิสภานั้นมาจากการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ และคณะกรรมการสรรหา น้อยครั้งที่วุฒิสมาชิกจะมาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีเพียงรัฐธรรมนูญพ.ศ. 2489 และรัฐธรรมนูญพ.ศ. 2540 เท่านั้นที่สมาชิกวุฒิสภาทั้งหมดมาจากการเลือกตั้ง\n\n| | เลือกโดย | จำนวน ส.ว.<br/>![](https://elect.in.th/con/images/topic1_summary_table1_legend.png) |\n|----|----|----|\n| ฉบับ ชั่วคราว 2475 | - | - |\n| ฉบับ 2475 | - | - |\n| ฉบับ 2489 | ประชาชน | 80 คน<br/>![](https://elect.in.th/con/images/topic1_summary_table1_mp80.png) |\n| ฉบับชั่วคราว 2490 | พระมหากษัตริย์ | เท่าสภาผู้แทนราษฎร |\n| ฉบับ 2492 | พระมหากษัตริย์ | 100 คน<br/>![](https://elect.in.th/con/images/topic1_summary_table1_senate270.png) |\n| ฉบับ 2475 แก้ไข 2495 | - | - |\n| ฉบับ 2502 | - | - |\n\n# 10 ส.ว. \"ไม่รับหลักการ\" ตั้ง สสร. แต่ได้เป็น กมธ. พิจารณารายละเอียด\n \nการแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตั้ง สสร. มีโมเดลหลักอยู่สามโมเดล คือ “โมเดลพรรคร่วมรัฐบาล” ให้ สรร. มาจาการเลือกตั้ง ผสมการแต่งตั้ง หรือ “โมเดลพรรคเพื่อไทย” ที่ให้ สสร.มาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ซึ่งทั้งสองโมเดลเป็นสองร่างรัฐธรรมนูญที่สภารับหลักการ และ “โมเดลภาคประชาชน” ที่ให้ สสร. มาจากการเลือกตั้งโดยใช้ประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง แม้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับภาคประชาชนจะถูกปัดทิ้งไป แต่ กมธ.จะยกขึ้นมาประกอบในการพิจารณาด้วย\n \nแม้ยังไม่แน่ชัดว่าโมเดล สสร. สุดท้ายที่ออกมาหลังการพิจารณาโดย กมธ. ชุดนี้จะมีหน้าตาเป็นเช่นไร แต่ชัดเจนว่า วันที่ 18 พฤศจิกายน 2563 สมาชิกรัฐสภาลงมติเห็นชอบในหลักการให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญเปิดทางให้มี สสร. เพื่อเข้ามาร่างรัฐธรรมนูญใหม่ \n \nอย่างไรก็ตามในบรรดา กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ จำนวนทั้ง 45 คน พบว่า มี 10 คน ที่ \\\"ไม่\\\" ลงมติรับหลักการร่างรัฐธรรมนูญที่เปิดทางให้มีการตั้ง สสร. ซึ่งทั้งหมดเป็น ส.ว. และในจำนวนนั้นมี 2 คน ที่ \\\"ไม่\\\" ลงมติไม่เห็นชอบกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญร่างใดเลย คือ มหรรณพ เดชวิทักษ์ และ เสรี สุวรรณภานนท์\",\n",
"category_id": "1",
"category_name": "คำปรารภ",
"category_color": "#d9d9d9",
"subcategory_id": "1",
"subcategory_name": "สมาชิกวุฒิสภา",
"image": "http://localhost:1337/uploads/topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"image_thumbnail": "http://localhost:1337/uploads/thumbnail_topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"image_large": "http://localhost:1337/uploads/large_topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"image_medium": "http://localhost:1337/uploads/medium_topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"image_small": "http://localhost:1337/uploads/small_topic1_1_32f913d2e8.jpg",
"thumbnail_image": "http://localhost:1337/uploads/topic1_thumbnail_1_4e6cd51b04.png",
"thumbnail_image_thumbnail": "http://localhost:1337/uploads/thumbnail_topic1_thumbnail_1_4e6cd51b04.png",
"constitutions": [
{
"id": "con2560",
"name": "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560",
"prelude": "xxx\n\nyyyy\n\n# Con 2460",
"sections": [
{
"id": 107,
"content": "วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวนสองร้อยคน ซึ่งมาจาก\\n การเลือกกันเองของบุคคลซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ อาชีพ ลักษณะ หรือประโยชน์ร่วมกัน หรือ\\n ..",
"chapter_id": 7,
"chapter_name": "รัฐสภา",
"part_id": 3,
"part_name": "วุฒิสภา"
},
{
"id": 269,
"content": "ในวาระเริ่มแรก ให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวน\\n สองร้อยห้าสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามที่\\n คณะรักษาความสงบแห่งชาติถวายคำแนะนำ โดยในการ\\n ....",
"chapter_id": 17,
"chapter_name": "บทเฉพาะกาล",
"part_id": null,
"part_name": null
}
]
},
{
"id": "con2492",
"name": "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492",
"prelude": "xxx\n\nyyyy\n\n# Con 2492",
"sections": [
{
"id": 82,
"content": "วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกมีจำนวนหนึ่งร้อยคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ ทรงเลือกและแต่งตั้งจากผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทน และมีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบปี บริบูรณ์ซึ่งทรงพระราชดำริเห็นว่าเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ โดยมีความรู้ความชำนาญในวิชาการหรือกิจการต่าง ๆ อันจะยังประโยชน์ให้เกิดแก่การปกครองแผ่นดิน ให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา\\n ..",
"chapter_id": 6,
"chapter_name": "อำนาจนิติบัญญัติ",
"part_id": 2,
"part_name": "วุฒิสภา"
}
]
}
],
"opinions": [
{
"speaker_name": "เสรี วงษ์มณฑา",
"speaker_position": "ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ",
"content": "เลือกที่จะเล่าบางส่วนของประวัติศาสตร์เข้าข้างตัวเอง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการเมืองที่ต้องการ ปลุกเร้าเยาวชนของชาติให้คล้อยตามเรื่องการเปลี่ยนระบอบการปกครอง เลวค่ะ",
"speaker_image": "http://localhost:1337/uploads/degoqrwz0158_1bd010a7ff.jpg",
"date": "2020-11-18",
"id": "5fd1f402bcae4f25f85f1943",
"speaker_image_thumbnail": "http://localhost:1337/uploads/thumbnail_degoqrwz0158_1bd010a7ff.jpg"
},
{
"speaker_name": "อ. ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล",
"speaker_position": "อาจารย์ประจำศูนย์กฎหมายระหว่างประเทศ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์",
"content": "ทุกวันนี้มีอยู่แล้ว และใช้ข้อมูลไปอย่างมหาศาลแล้วด้วย ซึ่งบางครั้งไม่ได้ขอความยินยอมจากผู้ใช้ด้วย หรือไม่ถ้าขอก็อาจจะเป็นการเขียนเบลอๆ กระทั่งอ่านเงื่อนไขขอความยินยอมของผู้ให้บริการจนจบแล้ว ยังรู้สึกไม่อยากใช้เลย แต่ทำยังไงได้ มันต้องใช้ เพราะไม่มีบริการอื่นให้เลือกใช้ ในแง่นั้นผู้บริโภคไม่ได้มีทางเลือกเท่าไหร่\\n\\nแต่ทีนี้หลักการของกฎหมายคุ้มครองส่วนบุคคลทั้งของไทยและต่างประเทศบอกว่า ถ้าคุณจะใช้บริการ แล้วบริษัทขอใช้ข้อมูลคุณ ต้องมีเหตุผลและความจำเป็นจริงๆ",
"speaker_image": "http://localhost:1337/uploads/_c2e5905967.jpg",
"date": "2020-12-01",
"id": "5fd1f402bcae4f25f85f1944",
"speaker_image_thumbnail": "http://localhost:1337/uploads/thumbnail__c2e5905967.jpg"
}
]
}
Sign up for free to join this conversation on GitHub. Already have an account? Sign in to comment